หน้าหลัก
ITA
LPA
ประกาศจากระบบ e-GP
ประกาศจากระบบ e-GP ในเครือข่าย
หน้าหลัก
Home
ข้อมูลหน่วยงาน
General
บุคลากร
Staff
การบริหารบุคคล
Personnel
ข่าวสาร
News
แผน
Planning
รายงาน
Rules
ระเบียบ
Rules
บริการประชาชน
Service
 
เทศบาลตำบล คลองลานพัฒนา ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ
 

สำนักงานเทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา
อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร 62180

ตำบลคลองลานพัฒนา พื้นที่ต้นน้ำ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
และวัฒนธรรมหลากหลาย ชุมชนน่าอยู่ คู่คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์ ทต.คลองลานพัฒนา

น้ำตกคลองลาน
แหล่งท่องเที่ยวสวยงามเชิงนิเวศ
1
2
3
 
สถานที่สำคัญ
 

พรรณไม้ชนิดใหม่ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน (ดอกผักกาดหินคลองลาน)  (จังหวัด กำแพงเพชร)
รูปชุดก่อน รูปชุดถัดไป
คลิกที่ภาพเพื่อขยาย

ลำดับภาพที่ 1/5

ลำดับภาพที่ 2/5

ลำดับภาพที่ 3/5

ลำดับภาพที่ 4/5

ลำดับภาพที่ 5/5
<<
>>
X
 
ชื่อสถานที่ : พรรณไม้ชนิดใหม่ในอุทยานแห่งชาติคลองลาน (ดอกผักกาดหินคลองลาน)
 
ที่ตั้ง :
 
ข้อมูล : ลักษณะ : ไม้ล้มลุกปีเดียว ขึ้นตามเขาหินปูนที่อยู่ริมน้ำ ตามที่ชื้น พบในช่วงฤดูฝน
ใบ : ใบเดี่ยว รูปรี ขนาดโตเต็มที่ กว้าง 13- 15 เซนติเมตร ยาว 24 – 25 เซนติเมตร ก้านใบยาว 14 เซนติเมตร ขอบใบหยัก ฐานใบเบี้ยว ปลายใบแหลม ด้านหลังใบและท้องใบมีสีต่างกัน หนึ่งกอมีประมาณ 7- 20 ใบ
ดอก : ดอกออกเป็นช่อ แต่ละช่อมีประมาณ 3 - 17 ดอก ก้านช่อดอกยาวได้ถึง 23 เซนติเมตร ดอกย่อยมีขนาด 5 -6 เซนติเมตร กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ดอกสีม่วง กลีบดอกมี 4 กลีบ เชื่อมติดกันที่ฐาน กลีบเลี้ยงมี 3 กลีบเชื่อมติดกัน ดอกบานไม่พร้อมกัน หนึ่งกอมีช่อดอกตั้งแต่ 1 -13 ช่อดอก ออกดอกช่วงเดือน กรกฎาคม ถึง ตุลาคม
พรรณพืชเฉพาะถิ่น (Endemic species)
ปราโมทย์ (2553) ได้สำรวจพรรณไม้บริเวณน้ำตกคลองลาน ในพื้นที่รับผิดชอบของอุทยานแห่งชาติคลองลาน พบพรรณไม้วงศ์ใบกำมะหยี่ (Gesneriaceae) ชนิดหนึ่ง เบื้องต้นคาดว่าเป็นพรรณไม้ที่ยังไม่เคยมีรายงานพบที่ใดมาก่อนในโลก จึงเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาในรายละเอียด และหลังจากได้วิจัยจนแน่ชัดแล้ว พบว่าเป็นพรรณไม้ชนิดใหม่ จึงได้ทำการตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ Thai Forest Bulletin (Botany) ในปี ค.ศ. 2010 โดยตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ว่า DamrongiacyananthaTriboun. ซึ่งมีชื่อท้องถิ่นว่า “ผักกาดหินคลองลาน” อันเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามสถานที่ค้นพบ
 
 
ผู้เข้าชม 1968 ท่าน